มาเร็วเคลมเร็ว Bravely Default- Brilliant Lights เซิร์ฟดับปีหน้า

ไม่ได้ไปต่อ Square Enix ประกาศเป็นทางการแล้วจะยุติการให้บริการเกม Bravely Default: Brilliant Lights อย่างถาวรตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2023 เท่ากับว่าไอพี JRPG ภาคล่าสุดจากแฟรนไชส์ Bravely ที่ทำมาให้สาวกได้สนุกบนแพลตฟอร์ม iOS และ Android จะมีอายุแค่ 1 ปีกับ 32 วันเท่านั้น หลังเริ่มให้บริการครั้งแรกผ่านสโตร์ญี่ปุ่นเมื่อ 27 มกราคม 2021 ส่วนระบบซื้่อขาย “Mythril” ในเกมจะถูกปิดลงตั้งแต่วันนี้ แต่แฟนเกมที่มี “Mythril” อยู่ในครอบครองสามารถนำใช้ไปได้จนกว่าเซิร์ฟจะดับ รวมทั้งสามารถนำ “Mythril” ที่ไม่ได้ใช้ไปรีฟันด์ได้เช่นกันคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

Bravely Default ภาค Brilliant Lights ใช้เกมเพลย์แบบ Single-Player RPG เป็นภาคเปิดตัว 4 นักรบแห่งแสงหน้าใหม่ที่จะพาเพื่อนๆ ไปพบกับความดราม่าน่าติดตามของเรื่องราว 500 ปีหลังการตายของสุดยอดนักเล่นแร่แปรธาตุผู้ให้กำเนิดคริสตัลแห่งแสง แฟนเกมจะได้ออกสำรวจโลกแห่ง Blood Sands ดินแดนหายนะหลังสงครามที่แสงส่องไม่ถึง และรอยแยกมหึมาที่แบ่งโลกออกเป็นฝั่งเหนือและใต้ ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์ Bravely Default: Brilliant Lightsคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

อ่านข่าวเกม Bravely Default: Brilliant Lights คลิกที่นี่

ผู้โดยสาร “รถไฟ-รถไฟฟ้า” พุ่ง 1.7 ล้านคน อานิสงส์ “สายสีชมพู” ดันยอดเพิ่ม

นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 22 พ.ยคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง. 66 เป็นวันแรกที่เปิดให้ประชาชนทดลองใช้บริการโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงสถานีศูนย์ราชการนนทบุรี (PK01) ถึงสถานีมีนบุรี (PK30) ฟรีตลอดเส้นทาง รวม 30 สถานี เต็มวัน ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึงเวลา 20.00 น. รวม 14 ชั่วโมง (ชม.) รวมทั้งให้บริการที่จอดรถฟรีที่อาคารจอดแล้วจร (Park & Ride) บริเวณสถานีมีนบุรี (PK30) มีผู้มาใช้บริการรวม 98,262 คน-เที่ยว (วันที่ 21 พ.ย. 66) ให้บริการเฉพาะช่วงเวลา 15.00-20.00 น. รวม 5 ชั่วโมง ให้บริการ 69 เที่ยว มีผู้ใช้บริการรวม 50,910 คน-เที่ยว) สะสม 2 วัน มีผู้ใช้บริการรวม 149,172 คน-เที่ยว โดยบริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (NBM) ผู้ให้บริการเดินรถไฟฟ้าสายสีชมพู จัดขบวนรถให้บริการสูงสุด 14 ขบวน ให้บริการทุก 10 นาทีตั้งแต่เวลา 06.00-20.00 น. รวม 172 เที่ยว (รวมขบวนรถเสริม 3 เที่ยว)

นายพิเชฐ กล่าวต่อว่า สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ (PK16) มีผู้ใช้บริการมากที่สุดกว่า 17,000 คน-เที่ยว ซึ่งในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน ได้มีการบริหารจัดการผู้โดยสารที่สถานี (Crowed Control) เพื่อลดความหนาแน่นที่ชั้นชานชาลาและในขบวนรถ เนื่องจากเป็นสถานีที่เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้าวัดพระศรีมหาธาตุ (N17) โครงการรถไฟฟ้า BTS สายสุขุมวิท โดยในช่วงทดลองให้บริการผู้โดยสารสายสีชมพู ยังคงต้องใช้ทางเข้า-ออก เพื่อออกจากระบบแล้วเดินไปยังทางเข้า-ออก ของรถไฟฟ้า BTS สายสุขุมวิท ส่วนสถานีที่มีผู้ใช้บริการรองลงมา ได้แก่ สถานีวงแหวนรามอินทรา (PK25) สถานีตลาดมีนบุรี (PK29) สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี (PK01) สถานีแจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 28 (PK08) สถานีหลักสี่ (PK14) สถานีมีนบุรี (PK30) และสถานีศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (PK12) ตามลำดับคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 22 พ.ย.-3 ธ.ค. 66 ให้บริการตั้งแต่เวลา 06.00-20.00 น. ให้บริการทุก 10 นาที ก่อนขยายเวลาให้บริการต่อไป  อย่างไรก็ตามกรมการขนส่งทางราง (ขร.) ได้ประสานการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และผู้ให้บริการรถไฟฟ้สายสีชมพู (NBM) เร่งดำเนินการก่อสร้างทางขึ้น-ลง ทุกสถานีรถไฟฟ้า รวมถึงทางเดินเชื่อมต่อให้แล้วเสร็จ ก่อนเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ต่อไป

นายพิเชฐ กล่าวอีกว่า สำหรับภาพรวมจำนวนผู้โดยสารที่ใช้บริการระบบราง ประจำวันที่ 22 พ.ย. 66 พบว่า มีผู้ใช้บริการระบบราง รวม 1,701,845 คน-เที่ยว ประกอบด้วย 1.รถไฟระหว่างเมืองของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) 64,229 คน-เที่ยว ประกอบด้วย

ขบวนรถโดยสารเชิงพาณิชย์ 20,356 คน-เที่ยว และขบวนรถโดยสารเชิงสังคม 43,873 คน-เที่ยว และ 2.รถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (รวมรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง) 1,637,616 คน-เที่ยว ประกอบด้วย รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ 64,229 คน-เที่ยว, รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง 29,143 คน-เที่ยว (รวมรถไฟทางไกลเชื่อมต่อสายสีแดงฟรี 269 คน-เที่ยว)

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) 478,749 คน-เที่ยว, รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) 78,355 คน-เที่ยว สูงสุดตั้งแต่มีสถานการณ์ Covid-19 (ครั้งล่าสุดเมื่อ 21 พ.ย. 66 จำนวน 76,960 คน-เที่ยว) เนื่องจากที่สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี เป็นสถานีที่มีทางเดินเชื่อมต่อระหว่างโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (PK01) และโครงการรถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) (PP11), รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและสายสีลม 841,570 คน-เที่ยว, รถไฟฟ้า สายสีทอง 6,000 คน-เที่ยว, รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง จำนวน 35,601 คน-เที่ยว และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู 98,262 คน-เที่ยว

นายพิเชฐ กล่าวด้วยว่า อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบกับวันที่ 15 พ.ย. 66 พบว่า มีผู้ใช้บริการระบบรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เพิ่มขึ้น 95,252 คน-เที่ยว หรือเพิ่มขึ้น 6.18% (14 พ.ย. 66 จำนวนผู้ใช้บริการรถไฟฟ้าฯ รวม 1,542,364 คน-เที่ยว) โดยมีผู้ใช้บริการรถไฟฟ้าสายสีแดง เพิ่มขึ้น 7.42% และสายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) เพิ่มขึ้น 3.73% ตามลำดับ ทั้งนี้ ขร. เชื่อมั่นว่า การเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีชมพู รวมถึงสายสีต่างๆ ที่กำลังจะเปิดให้บริการในอนาคต จะมีส่วนช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด และปลอดภัย สร้างความสุขการเดินทางระบบรางให้กับคนไทยอย่างมุ่งมั่นต่อไป.